Sunday, June 23, 2013

เขื่อนในฐานะกลไกด้านชลประทานและกลไกด้านพลังงาน

Tuesday, June 18, 2013
4:40 PM
กลุ่ม
รายละเอียด
กลุ่ม Media
การนำเสนอแนวทางในการพัฒนาและนโยบายการใช้พลังงานในประเทศนอร์เวย์ โดยมีแนวคิดในการบริหารจัดการพลังงานอย่างยั่งยืนที่ประสบความสำเร็จของประเทศนอร์เวย์


กลุ่ม Techno
โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็กท้ายเขื่อนชลประทาน 6 แห่ง รวม  78.7  เมกะวัตต์ ได้แก่
โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ กำลังผลิต 6.7  เมกะวัตต์
โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนขุนด่านปราการชล กำลังผลิต 10  เมกะวัตต์
โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนเจ้าพระยา กำลังผลิต 12 เมกะวัตต์
โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนนเรศวร กำลังผลิต 8 เมกะวัตต์
โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนแควน้อย กำลังผลิต 30 เมกะวัตต์
โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนแม่กลอง กำลังผลิต 12 เมกะวัตต์


Loxley-AGT offers flood simulations
กลุ่ม Politics
แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1 (..2504-2509)

กำหนดแนวทางหลักในการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะการลงทุนในสิ่งก่อสร้างพื้นฐาน ในรูปของระบบคมนาคมและขนส่ง ระบบเขื่อนเพื่อการชลประทานและพลังไฟฟ้า ตลอดจนสาธารณูปโภคต่าง ๆ โดยหวังว่าปัจจัยที่เป็นโครงสร้างพื้นฐานเหล่านี้จะเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ กล่าวคือ ส่งเสริมบรรยากาศเพื่อให้มีการลงทุนในภาคอุตสาหกรรม ในขณะเดียวกันก็เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการขยายตัวของพื้นที่เพาะปลูก

แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ.2510-2514)

ความเหลื่อมล้ำทางรายได้ที่เพิ่มขึ้นนี้ส่วนหนึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากแนวทางการพัฒนาในระยะของแผนพัฒนาฯทั้งสองฉบับที่ผ่านมา ซึ่งเน้นโครงการก่อสร้างปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจ เช่น ถนน ไฟฟ้า เขื่อน ท่าเรือ โทรศัพท์ เป็นต้น โดยตั้งอยู่ในความเชื่อพื้นฐานที่ว่า การเพิ่มการผลิตของประเทศจะต้องอาศัยปัจจัยพื้นฐานเหล่านี้ ปรากฏว่าโครงการเหล่านี้ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนบางส่วน เนื่องจากไม่สามารถส่งประโยชน์ให้ถึงประชาชนอย่างทั่วถึง ผู้ได้รับประโยชน์จะเป็นผู้ใกล้แหล่งที่จะใช้บริการพื้นฐานและมีปัจจัยการผลิตพร้อมมูล ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม จึงเห็นได้ว่าแต่ละบุคคลมีโอกาสที่จะได้รับประโยชน์จากการเพิ่มผลผลิตและรายได้ของตนจากการบริการและการลงทุนของรัฐ ไม่เท่าเทียมกัน จึงส่งผลให้ช่องว่างทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้มีการกระจายรายได้ที่แตกต่างกันมากขึ้น

นโยบายการพัฒนาเทคโนโลยีสะอาด http://www.egat.co.th/images/stories/demo/tech/CDM_ONEP270850.pdf
การ Econ
ปัจจุบันลาวมีเขื่อนที่สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้แล้วจำนวน 14 แห่ง ซึ่งสามารถผลิตไฟฟ้าได้ 2,540 เมกะวัตต์ โดยเขื่อนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศในขณะนี้คือ "เขื่อนน้ำเทิน 2"   ด้วยกำลังการผลิต 1,070 เมกะวัต

ต้องยอมรับว่าในช่วงไม่กี่ปีมานี้ "ลาว" เป็นประเทศหนึ่งในอาเซียนที่น่าจับตามองอย่างยิ่ง เพราะแม้ในช่วงที่หลายประเทศทั่วโลกได้รับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจและการเงินโลก แต่ประเทศเล็กๆ ที่มีประชากรเพียงแค่ราว 7 ล้านคนแห่งนี้กลับไม่ได้รับความกระทบกระเทือนแต่อย่างใด มิหนำซ้ำเศรษฐกิจลาวยังสามารถเติบโตได้อย่างรวดเร็วอีกด้วย โดยพบว่าในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (ปี 2007-2011) ลาวมีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจเฉลี่ยสูงถึงเกือบ 8% ในแต่ละปี เทียบกับค่าเฉลี่ยรวมของประเทศในกลุ่มอาเซียนซึ่งอยู่ที่ราว 6% นอกจากนี้ รายได้เฉลี่ยต่อหัวประชากร (GDP per capita - PPP basis) ของลาวในปัจจุบันยังได้ปรับตัวสูงขึ้นไปอยู่ที่ 2,865 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อคนต่อปีแล้ว เทียบกับช่วง 5 ปีก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ประมาณ 1,900 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อคนต่อปี หรือเพิ่มขึ้นถึงกว่า 6% ต่อปีเลยทีเดียว หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ "คนลาวกำลังรวยขึ้น" นั่นเอง

Stakeholder
การประท้วงของชาวบ้านเขื่อนปากมูลต่อโครงการ 3.5 แสนล้านที่หน้าทำเนียบ

The firm later planned to nearly double the capacity of the dam to generate about 1040MW of electricity. Studies showed that the dam could cause floods in the area and that about 61,000 acres [25,000 hectares] of farmland was exposed to the risk.
สถานการณ์ในปัจจุบัน


Created with Microsoft OneNote 2013.

No comments: